สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในวันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม 2558
เรื่อง กรอบแนวคิดจากการจัดการความรู้
วิกส์ ได้ให้นิยามการจัดการความรู้อยู่ 4 คำ คือ
Create คือ การสร้างความรู้หรือความคิดสร้างสรรค์
Manifest คือ เอาความรู้ไปนำเสนอ
Use คือ นำไปใช้
Transfer คือ เผยแพร่
พรอบสท์,รอบ,ฮาร์ดให้นิยามไว้ไว้ว่า
1.กำหนดความรู้ที่ต้องการ (knowledge identification)
2.การจัดหาความรู้ (knowledge acquisition)
3.สร้างและพัฒนาความรู้ใหม่ (knowledge development)
4.แบ่งปันและกระจายความรู้ (knowledge distribution)
5.การใช้ความรู้ (knowledge utilization)
6.การจัดเก็บความรู้ (knowledge storage)
เทอแบนและเฟรนเซล
มีกระบวนการจัดการความรู้ 6 ขั้นตอน
1.การกำหนดความรู้ (create)
2.จัดหาและเก็บความรู้ (capture/store)
3.นำเสนอความรู้นั้นๆ (refine)
4.เผยแพร่ (distribute)
5.ใช้งาน (use)
6.สังเกต,เฝ้าดู (monitor)
โนนากะและทาเคริ
ความรู้มี 2 มุม คือ ความรู้ที่เปิดเผยและความรู้ที่ซ่อนเร้น
ไลนอวิชและแบคแมน
1.การกำหนดองค์ความรู้ (identification)
2.จัดหาความรู้ (capture)
3.การวิเคราะห์ เลือกความรู้ที่มีประโยชน์ (select)
4.จัดเก็บลงในระบบ (store)
5.แบ่งปันแลกเปลี่ยน (share)
6.ประยุกต์ใช้ (apple)
7.เกิดองค์ความรู้ใหม่ (creat)
8.การจัดทำเป็นผลิตภัณฑ์/เผยแพร่ (shell)
โอเดล เกรย์ซันและเอสเซเดศ
- การกำหนดสิ่งสำคัญที่ทำให้องค์กรต้องทำให้สำเร็จ
- ปัจจัยที่ทำให้องค์กรสามารถจัดการความรู้ได้อย่างมีประสิทธิผล
- กระบวนการเปลี่ยนแปลง
การจัดการความรู้ของไทย
1.วางแผน
2.ออกแบบ
3.ปฏิบัติจริง
4.ขยายผล
กรอบแนวคิด หลักการความรู้ในบริบทสังคมไทย
สถาบันเพื่อการศึกษาแห่งชาติ ได้นำเสนอกรอบแนวคิดดังนี้
1.การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม(transition and behavior management)
2.การสื่อสาร(communication)
3.กระบวนการและเครื่องมือ(process and tools)
4.การฝึกอบรมและการเรียนรุ้(training and learning)
5.การวัดผล(measurements)
6.การยกย่องชมเชยและให้รางวัล(re and rewords)